นี่คือหนึ่งในคุณสมบัติหลัก หากไม่ได้ทุนก็จะไม่มีทุนนิยม หากไม่มีองค์กรขนาดยักษ์ก็จะไม่มีทุนนิยม.
พฤติกรรมที่สมบูรณ์แบบในการรักษาระบบเศรษฐกิจนี้ให้เคลื่อนไหวคือเมื่อมีอุปทานมากและมีความต้องการสูง.
แนะนำหนังสือ : ปรัชญาสังคมนิยมวิทยาศาสตร์ประชาธิปไตย อุดมการณ์เพื่อชาติและราษฎรไทยแนะนำหนังสือ : ปรัชญาสังคมนิยมวิทยาศาสตร์ประชาธิปไตย อุดมการณ์เพื่อชาติและราษฎรไทย
ทุนนิยมเป็นระบบเศรษฐกิจที่วิธีการผลิตเป็นของเอกชน ราคาการผลิตและผู้บริโภคขึ้นอยู่กับระบบตลาดเสรีของ "อุปทานและอุปสงค์"
เป็นฐานสำคัญในการเปลี่ยนแปลงสังคมให้ดีขึ้น
การเมืองทำให้เศรษฐกิจประเทศไหลยาวสู่ความมืด
วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร, “ทุนนิยมไทยไปทางไหนดี”
ระบบทุนนิยมควรเป็นทั้งหน่วยในการมองปัญหา และเป็นกรอบใหญ่ในการคิดระยะยาวของประเทศไทย เพราะทุนนิยมเป็นรากฐานและพลังขับเคลื่อนสังคมที่เราไม่อาจปฏิเสธได้ แต่ทุนนิยมก็มีหลายรูปแบบ ไม่ใช่เพียงเสรีนิยมใหม่หรือโลกาภิวัตน์ที่ต่อกรไม่ได้อย่างที่หลายคนคิด อีกทั้งเรายังสามารถออกแบบทุนนิยมได้ ผ่านกระบวนการทางการเมือง เพื่อสร้างสังคมที่ทุกคนพอจะอยู่ร่วมกันได้อย่างเสมอหน้าทั้งทางเศรษฐกิจและการเมือง
ทุนนิยมเดินทางผ่านช่วงเวลารุ่งโรจน์ ร่วงโรย และสะบักสะบอมด้วยวิกฤตการณ์การเงินอยู่เป็นระยะ แม้ประเทศมหาอำนาจในโลกจะเปลี่ยนหน้าไปมาตลอดหลายศตวรรษที่ผ่านมา แต่ทุนนิยมก็ยังเป็นกลไกหลักอยู่เช่นเดิม ยังไม่มีระบบการจัดการเศรษฐกิจรูปแบบอื่นมาแทนที่ได้
พูดอีกอย่างก็คือ ทุนนิยมเอาชนะคอมมิวนิสต์ได้ ไม่ใช่เพราะบรรดาประเทศมหาอำนาจค้นพบ “สูตรสำเร็จ” หนึ่งเดียวที่เป็นอมตะนิรันดร์กาล แต่เป็นเพราะทุนนิยมสามารถแพร่พันธุ์ผลิดอกผลที่แตกต่างกันไปในแต่ละผืนดิน
แด่สังคมที่ (เหมือนจะ) เสมอภาคบนนิติธรรมที่หักงอ : จากความเสมอภาคทางเพศสู่ภาพของสังคมที่ไม่เสมอภาคบนหลักนิติธรรม
ระบบทุนนิยมกับปัญหาความเหลื่อมล้ำเป็นความท้าทายของการดำเนินนโยบายเศรษฐกิจมาตลอด เพราะสามารถส่งผลกระทบกว้างขวาง ทุนนิยม ทั้งต่อคนในสังคมและความยั่งยืนของระบบทุนนิยม ปัญหาคือระบบทุนนิยมสามารถสร้างการเติบโตของเศรษฐกิจได้ดี แต่เรื่องการกระจายผลที่เกิดจากการเติบโต ในแง่ของรายได้ที่เกิดขึ้นให้กับกลุ่มคนต่างๆ ในเศรษฐกิจนั้นทำได้ไม่ดี คือ คนส่วนน้อยได้ประโยชน์มากจากการเติบโตของเศรษฐกิจ ขณะที่คนส่วนใหญ่ไม่ได้ประโยชน์อย่างที่ควร เกิดปัญหาความเหลื่อมล้ำที่คนจำนวนน้อยร่ำรวยมาก แต่คนส่วนใหญ่มีแค่พออยู่พอกินหรือไม่ก็ยากจน และยิ่งเศรษฐกิจเติบโต ช่องว่างระหว่างคนรวยกับคนจนก็ยิ่งมีมากขึ้น หมายถึงปัญหาความเหลื่อมล้ำรุนแรงขึ้น กรณีของประเทศไทย ซึ่งระบบเศรษฐกิจทำงานอยู่ภายใต้ระบบทุนนิยม ประเทศเราก็มีปัญหาความเหลื่อมล้ำมากเป็นอันดับต้นๆ ของโลก เป็นปัญหาสำคัญของสังคม ซึ่งถ้าไม่พยายามแก้ไข ความรุนแรงของปัญหาอาจเป็นความเสี่ยงต่อความสมานฉันท์ เสถียรภาพและความยั่งยืนของเศรษฐกิจได้
ภาพวาดดังกล่าวมุ่งประเด็นไปที่การจัดช่วงชั้นทางสังคมออกเป็นชนชั้นต่าง ๆ และความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ โดยภาพวาดชิ้นนี้ถูกขนานนามว่า “โด่งดัง” และเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย ก่อให้เกิดภาพวาดอื่น ๆ ที่อ้างอิงภาพวาดนี้ตามมาอีกมากมาย
ทางด่วนโทลล์เวย์ ใครเป็นเจ้าของ ทำไมขึ้นราคาไม่พัก